เนื่องจาก โถสำริดลายเทาเทีย นั้นจะนิยมมีรูปลักษณ์ที่พิเศษ พร้อมกับหน้าที่ที่นำมาใช้ก็มีความเฉพาะตัว ซึ่งในสมัยก่อนนั้นวัตถุโบราณชนิดนี้ก็นิยมใช้เป็นอย่างมาก แถมยังเป็นของที่สามารถบ่งบอกถึงฐานะในสมัยก่อน ของทางประเทศจีน
โดย โถสำริดลายเทาเทีย หรือจะมีชื่อเรียกว่า ติ่ง (Ding) ซึ่งถ้าเป็นคำเขียนของจีนจะเป็นตัวอักษรแบบนี้ 鼎 ซึ่งเป็นภาชนะชนิดหนึ่งที่เป็น เนื้อสำริด ซึ่งจะเหมาะสมกับการใส่อาหาร หรือ ใส่เครื่องดื่ม ซึ่งยังไม่หมดเท่านั้นยังเป็นภาชนะ ที่มีความโดดเด่นด้วยลักษณะภายนอก เป็นต้น
ซึ่งจะเริ่มจาก คำเขียนภาษาจีนที่เป็นคำว่า ติ่ง (鼎) โดยคำนี้นั้นจะสื่อถึง ภาชนะหุงต้มชนิดที่มีขาตั้ง พร้อมกับที่มีหูจับ ซึ่งในยุคสมัยนั้นจะภาชนะชนิดแบบนี้ที่ใกล้เคียงกัน แต่จะแตกต่างด้วยจำนวนขาตั้ง ที่มีขาตั้ง 3-4 ขา ในช่วงสมัยก่อน จะนิยมใช้ในแวดวงชนชั้นสูง
โดยครั้งแรกที่สร้างขึ้น จะมีความสูงประมาณ 113 เซนติเมตร พร้อมกับเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 87 เซนติเมตร ตรงหูจับจะมีความสูงประมาณ 36.5 เซนติเมตร และความลึกประมาณ 52 เซนติเมตร ตรงขานั้นจะสูงได้ประมาณ 67 เซนติเมตร พร้อมน้ำหนักประมาณ 400 กิโลกรัม
โดยความเชื่อเรื่องเล่าที่ เกี่ยวกับโถสำริดลายเทาเทีย หรือ ติ่ง (鼎) ซึ่งในกษัตริย์แห่งราชวงศ์เซี่ย ได้ทำการหล่อภาชนะขึ้นมาไว้เพียง 9 ใบ โดยจะเป็นสัญลักษณ์ที่แทนความหมายของ 9 นคร หรือ 9 แคว้นของประเทศจีน
โดยต่อมาก็ได้ยกย่องให้ ติ่ง 9 ใบเป็นตัวแทนของสัญลักษณ์แห่งอำนาจการปกครอง หลังจากนั้นก็ได้เริ่มสร้างขึ้นอีกครั้ง ในเมืองหลวงของแต่ละราชวงศ์ หรือเรียกว่าการขยายสาขาสำหรับภาชนะชนิดนี้ ภาชนะชนิดนี้ก็กลายเป็นธรรมเนียมที่สำคัญในการนำมาใช้ สามารถคลิกเพื่ออ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ goozhuqi
เนื่องจาก ภาชนะชนิดนี้ จะเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงถึง ความมั่นคง ในสำนวนของจีน พร้อมกับเป็นคำนี้ที่พูดถึง การยืนตระหง่านเพื่อความมั่นคง โดยสามขานั้นจะบ่งบอกถึง การร่วมแรงเคียงคู่กันพร้อมกับบอกถึง การเผชิญหน้าระหว่างทั้งสามฝ่าย
ซึ่งถ้าเป็นฐานะของตนเอง ภาชนะชนิดนี้ จะแสดงถึง ฐานะทางด้านสังคม โดยส่วนใหญ่ภาชนะชนิดนี้ จะนิยมใช้กับ กลุ่มทหารชั้นสูง หรือ ราชวงศ์ รวมถึงกษัตริย์ จึงจะสามารถแสดงถึง ฐานะของผู้ใช้ที่ใช้ภาชนะชิ้นนี้ โดยในยุคนั้นจะเป็นเรื่องยากมากกับผู้คนที่มีฐานะปกติ ที่จะใช้ภาชนะชิ้นนี้
โดยโถสำริดลายเทาเทีย ชนิดนี้จะเหมาะสมกับการนำมาใช้ใน พิธีกรรม 3 แบบ ได้แก่ พิธีกรรมกู่ที่เหมาะสมกับเหล่าทหาร และ พิธีกรรมกี่จือ เหมาะสมกับการผูกข้อมือเรียกขวัญ โดยได้ใช้ครั้งแรกเริ่มต้นช่วงสมัยเอ้อหลี่โถว ซึ่งมีหน้าที่และลักษณะที่คล้ายกับ จอกเหล้าสามขา
ซึ่งการใช้กับพิธีกรรมต่างๆแล้วนั้น ยังนิยมใช้กับการใส่อาหาร หรือนำมาใช้เป็นภาชนะที่เหมาะสมกับการปรุงอาหาร พร้อมกับเหมาะสมกับการ ใส่ไวน์ หรือเหล้าเพื่อเป็นภาชนะในการนำมาดื่ม โดยจะเริ่มนิยมมาใช้ในช่วงสมัยซาง เป็นต้น [1]
พิพิธภัณฑ์กู้กง หรือเรียกว่า พิพิธภัณฑ์จงซาน
ที่มา: พิพิธภัณฑ์กู้กง ไต้หวัน [2]
พิพิธภัณฑ์มณฑลอานฮุย (Anhui Museum)
ที่มา: Anhui Museum [3]
สรุป โถสำริดลายเทาเทีย หรือเรียกว่า ติ่ง (Ding) ที่ทางเราได้บ่งบอกถึงลักษณะ และ อธิบายเกี่ยวกับความเชื่อของภาชนะชนิดนี้ โดยจะมีนโยบายในการสร้างโถสำริดในการบ่งบอกถึงฐานะทางด้านสังคม พร้อมกับแนะนำสถานที่พิพิธภัณฑ์ที่มีโถสำริดสามขา เป็นต้น
[1] web.archive. (2004-2024). More about Bronze Vessels. Retrieved from web.archive
[2] arsomsiam. (2012-2024). พิพิธภัณฑ์กู้กง ไต้หวัน. Retrieved from arsomsiam
[3] trip. (2024). Anhui Museum. Retrieved from trip